11.รูปแบบการวิจัย (Research Design)
http://cai.md.chula.ac.th/lesson/research/re12.htm#06-6 ได้รวบรวมและกล่าวไว้ว่าการจำแนกรูปแบบการวิจัย ตามวิธีการดำเนินการวิจัย สามารถแบ่งการวิจัยได้เป็น 2 รูปแบบใหญ่ ๆ คือ การวิจัยโดยการสังเกต (observational research) และการวิจัยเชิงทดลอง (experimental research)ขึ้นอยู่กับว่า ตัวแปรอิสระ ซึ่งอาจได้แก่ ปัจจัยเสี่ยง (risk factor หรือ exposure) หรือสิ่งที่เราต้องการประเมิน หรือทดสอบ (เช่น ยา วิธีการรักษา โครงการต่าง ๆ) ซึ่งเรียกว่า "สิ่งแทรกแซง"(intervention) นั้น ผู้วิจัยเป็นผู้กำหนด (assign) ให้กับตัวอย่างที่นำมาศึกษา หรือตัวอย่างที่นำมาศึกษานั้น ได้รับปัจจัยเสี่ยงนั้นอยู่แล้วในชีวิตประจำวัน หรือได้รับอยู่แล้ว ตามธรรมชาติ(ที่เรียกว่า natural exposure) โดยที่ผู้วิจัย ไม่ได้เข้าไปควบคุม หรือแทรกแซงแต่อย่างใด
สรุป ได้ดังนี้
1. ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงประวัติศาสตร์
- เชิงบรรยาย
- เชิงทดลอง
2. ใช้จุดมุ่งหมายของงานวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- บริสุทธิ์
- ประยุกต์
- เชิงปฏิบัติการ
3. ใช้ลักษณะและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงปริมาณ
- เชิงคุณภาพ
4. ใช้ลักษณะศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- วิทยาศาสตร์
- สังคมศาสตร์
- มนุษยศาสตร์
5. ใช้วิธีการควบคุมตัวแปรเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงทดลอง
- เชิงกึ่งทดลอง
- เชิงธรรมชาติ
http://cai.md.chula.ac.th/lesson/research/re3_3.htm ได้รวบรวมและกล่าวไว้ว่า สามารถจำแนกรูปแบบการวิจัยได้ดังนี้
1. การวิจัยพื้นฐาน (Basic Research)
2. การวิจัยทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory Research)
3. การวิจัยในสัตว์ทดลอง (Animal Research)
4. การวิจัยทางคลินิก (Clinical Research)
5. การวิจัยชุมชน( Community Research)
6. การวิจัยปฏิบัติการ (Operational Research)
7. การวิจัยบริการสาธารณสุข (Health Service Research)
จำแนกตามลำดับเวลา
2. การวิจัยไปข้างหน้า (Prospective Research)
จำแนกตามวิธีดำเนินการวิจัย
- การวิจัยโดยการสังเกตเชิงพรรณนา (Descriptive Research)
- การวิจัยโดยการสังเกตเชิงวิเคราะห์ (Analytical Research)
2. การวิจัยโดยการทดลอง (Experimental Research)
1. ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงประวัติศาสตร์
- เชิงบรรยาย
- เชิงทดลอง
2. ใช้จุดมุ่งหมายของงานวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- บริสุทธิ์
- ประยุกต์
- เชิงปฏิบัติการ
3. ใช้ลักษณะและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงปริมาณ
- เชิงคุณภาพ
4. ใช้ลักษณะศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- วิทยาศาสตร์
- สังคมศาสตร์
- มนุษยศาสตร์
5. ใช้วิธีการควบคุมตัวแปรเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงทดลอง
- เชิงกึ่งทดลอง
- เชิงธรรมชาติ
http://5kanlayaporn20.multiply.com/journal/item/91 เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 4 มกราคม 2556
http://cai.md.chula.ac.th/lesson/research/re3_3.htm เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 4 มกราคม 2556
http://5kanlayaporn20.multiply.com/journal/item/91 ได้รวบรวมและกล่าวไว้
ว่าการวิจัยทางการศึกษานั้นสามารถจัดได้หลายแบบแล้วแต่ว่าจะใช้อะไรเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง ซึ่งพอ
ว่าการวิจัยทางการศึกษานั้นสามารถจัดได้หลายแบบแล้วแต่ว่าจะใช้อะไรเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง ซึ่งพอ
สรุป ได้ดังนี้
1. ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงประวัติศาสตร์
- เชิงบรรยาย
- เชิงทดลอง
2. ใช้จุดมุ่งหมายของงานวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- บริสุทธิ์
- ประยุกต์
- เชิงปฏิบัติการ
3. ใช้ลักษณะและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงปริมาณ
- เชิงคุณภาพ
4. ใช้ลักษณะศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- วิทยาศาสตร์
- สังคมศาสตร์
- มนุษยศาสตร์
5. ใช้วิธีการควบคุมตัวแปรเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงทดลอง
- เชิงกึ่งทดลอง
- เชิงธรรมชาติ
1. การวิจัยพื้นฐาน (Basic Research)
2. การวิจัยประยุกต์ (Applied Research)
จำแนกตามลักษณะสิ่งที่ทำการศึกษา
1. การวิจัยวารสารหรือเอกสาร (Documentary Research)
2. การวิจัยทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory Research)
3. การวิจัยในสัตว์ทดลอง (Animal Research)
4. การวิจัยทางคลินิก (Clinical Research)
5. การวิจัยชุมชน( Community Research)
6. การวิจัยปฏิบัติการ (Operational Research)
7. การวิจัยบริการสาธารณสุข (Health Service Research)
จำแนกตามลำดับเวลา
1. การวิจัยย้อนหลัง (Retrospective Research)
2. การวิจัยไปข้างหน้า (Prospective Research)
จำแนกตามวิธีดำเนินการวิจัย
1. การวิจัยโดยการสังเกต (Observational Research)
- การวิจัยโดยการสังเกตเชิงพรรณนา (Descriptive Research)
- การวิจัยโดยการสังเกตเชิงวิเคราะห์ (Analytical Research)
2. การวิจัยโดยการทดลอง (Experimental Research)
สรุป รูปแบบการวิจัย ได้แก่
1. ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงประวัติศาสตร์
- เชิงบรรยาย
- เชิงทดลอง
2. ใช้จุดมุ่งหมายของงานวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- บริสุทธิ์
- ประยุกต์
- เชิงปฏิบัติการ
3. ใช้ลักษณะและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงปริมาณ
- เชิงคุณภาพ
4. ใช้ลักษณะศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- วิทยาศาสตร์
- สังคมศาสตร์
- มนุษยศาสตร์
5. ใช้วิธีการควบคุมตัวแปรเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงทดลอง
- เชิงกึ่งทดลอง
- เชิงธรรมชาติ
เอกสารอ้างอิง
http://cai.md.chula.ac.th/lesson/research/re12.htm#06-6 เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 4 มกราคม 2556http://5kanlayaporn20.multiply.com/journal/item/91 เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 4 มกราคม 2556
http://cai.md.chula.ac.th/lesson/research/re3_3.htm เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 4 มกราคม 2556
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น